%A ไหลวารินทร์, พีร์ %D 2016 %T การศึกษาทัศนคติของผู้ประกอบการที่มีต่อประสิทธิภาพของ RFID ใน การจัดการคลังสินค้าเขตปลอดอากร (FREE ZONE) ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ %B 2016 %9 %! การศึกษาทัศนคติของผู้ประกอบการที่มีต่อประสิทธิภาพของ RFID ใน การจัดการคลังสินค้าเขตปลอดอากร (FREE ZONE) ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ %K %X สารนิพนธ์ฉบับนี้วัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของก่อนและหลังในการใช้ของ RFID ในการจัดการคลังสินค้าเขตปลอดอากร (FREE ZONE) ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิจำแนกตามข้อมูลพื้นฐานบริษัทของผู้ประกอบการใช้วิธีศึกษาเชิงสำรวจกับจากผู้ประกอบการ ในเขตปลอดอากร(FREE ZONE)จำนวน 250 ราย ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ค่าสัมประสิทธิ์ของความเชื่อมั่น = -0.129 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าสถิติร้อยละ (Percentage), ค่าเฉลี่ย (Mean), ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation), การวิเคราะห์ความผันแปร (Analysis of Variance: ANOVA) F-test, โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาพบว่าในภาพรวมของคุณสมบัติพื้นฐานทางเทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กับทัศนคติในด้านควบคุมและกำกับดูแลในระดับน้อยมาก(P=-.111) ส่วนด้านความคงทนมีความสัมพันธ์กับทัศนคติในด้านควบคุมและกำกับดูแลในระดับน้อยมาก(P=-0.185) ข้อมูลพื้นฐานบริษัทโดยจำแนกตามขนาดธุรกิจกับทัศนคติเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการเลือกระบบRFID มาใช้ในคลังสินค้า(FREE ZONE)ในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ พบว่ากลุ่มผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดใหญ่มีทัศนคติด้านการควบคุมและการกำกับดูแลแตกต่างจากผู้ประกอบการขนาดเล็ก ส่วนประเภทสินค้านำเข้าและ/หรือส่งออกแตกต่างกันกับทัศนคติเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการเลือกระบบRFID มาใช้ในคลังสินค้า(FREE ZONE) ในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิพบว่าประเภทสินค้านำเข้าและ/หรือส่งออกประเภทยานยนต์และหัตถกรรมมีทัศนคติเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการเลือกระบบRFID มาใช้ในคลังสินค้า (FREE ZONE) ในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิที่แตกต่างจากผู้ประกอบการประเภทเกษตรกรรม อัญมณี เครื่องประดับ และอิเล็กทรอนิกส์ และประสบการณ์ด้านคลังสินค้าแตกต่างกันกับทัศนคติเกี่ยวกับประสิทธิภาพในการเลือกระบบRFID มาใช้ในคลังสินค้า(FREE ZONE) ในท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ พบว่าประสบการณ์ด้านสินค้า 6-15 ปี และมากกว่า 21 ปีมีทัศนคติด้านการควบคุมและการกำกับดูแลแตกต่างจากประสบการณ์ด้านสินค้าต่ำกว่า5ปีและ16-20 ปี คำสำคัญ : ประสิทธิภาพของRFID ในการจัดการคลังสินค้าเขตปลอดอากร(FREE ZONE) This research was for attitude of entrepreneur for RFID efficiency in management of custom free zone at Suvanabhumi airport. The sampling of this research were entrepreneurs from 250 companies by questionnaire. The statistical analysis included the percentage, frequency, and standard deviation. The analysis of difference testing used by F - test in one - way analysis and paired - difference tests. The result could be summarized as per the following : 1. The major of entrepreneur were number of 183 of big - sized companies (73.5 percent), 51 of medium - sized companies (20.4 percent), and 16 of small - sized companies (6.4 percent) by respectively. 2. The result from questionnaire by entrepreneurs presented for the technological - standardized qualification of RFID was in high level, at 4.06 of mean. 3. The result of the optimistic of the entrepreneurs for RFID implementation was agreeing strongly, at 4.21 of mean. 4. The result of hypothesis testing as per the following : The 1st of hypothesis testing, the primary from differentiation of the entrepreneurs effect on attitude of entrepreneur for RFID efficiency in management of custom free zone at Suvanabhumi airport was perceived differently, at 0.05 of statistical significance level. The 2nd of hypothesis testing, the technological - standardized qualification of RFID related to attitude of entrepreneur for RFID efficiency in management of custom free zone at Suvanabhumi airport as per the result of the following : RFID effected on efficiency of the warehouse management was good, at 0.05 of statistical significance level. RFID was not effect on any troubles of communicative information system in concerned institute, at 0.05 of statistical significance level. RFID usability at Suvanabhumi airport was good guaranteed by achievement of navigating of customs department, at 0.05 of statistical significance level. RFID could reduce expenditure of logistic operation in air transportation concerned, at 0.05 of statistical significance level. RFID could reduce environment impact from logistic operation by quantity reduction of paper using beneath of RFID & Paperless campaign, at 0.05 of statistical significance level. RFID could pay attention of route for transportation between the start points to Suvanabhumi airport and other concerned destination, at 0.05 of statistical significance level. %U http://ojs.ru.ac.th/index.php/Logistic/article/view?path= %J Journal of Logistics and Supply Chain Management Ramhkamhaeng %0 Journal Article %V 3 %N 1 %@ 2351-0722 %8 2016-10-20 %7 2016-10-18