%A จิราสุคนธ์, สุภัททรา %D 2016 %T การศึกษาระบบการจัดการ การจัดเก็บขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร %B 2016 %9 %! การศึกษาระบบการจัดการ การจัดเก็บขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร %K %X การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อจะศึกษาหาระบบในการจัดการ จัดเก็บขยะมูลฝอยปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการจัดการจัดเก็บขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาครรวมถึงศึกษาความพึงพอใจของประชาชนต่อระบบการจัดการ จัดเก็บขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร เพื่อนำข้อมูลที่ได้มาใช้เป็นแนวทางต่อการวางแผน การดำเนินการจัดการ จัดเก็บขยะมูลฝอยให้เพียงพอเหมาะสม ให้เกิดประสิทธิภาพ และเกิดประโยชน์สูงสุดว่ามีขั้นตอนในการทำงานอย่างไร การศึกษาระบบการจัดการ การจัดเก็บขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร ทำให้ทราบถึงปัญหาในการดำเนินงาน พบว่าด้านการเกิดขยะมูลฝอย ปัญหาที่พบคือ ขยะมูลฝอยที่มีปริมาณมากขึ้นจากการที่มีจำนวนประชากรเพิ่มขึ้นและบ้านเรือนที่เพิ่มขึ้น ทำให้ภาชนะรองรับมีจำนวนไม่เพียงพอ ส่งผลให้มีขยะมูลฝอยตกค้างรวมถึงในบางพื้นที่ที่ขยะมูลฝอยมีจำนวนมากด้านรถที่ใช้จัดเก็บขยะมูลฝอย ปัญหาที่พบคือ รถแต่ละคันมีความจุไม่เท่ากัน ส่งผลให้เก็บขยะมูลฝอยได้ไม่หมดในแต่ละพื้นที่นั้นๆ รวมถึงปัญหาด้านบุคลากรในการจัดเก็บขยะมูลฝอย ปัญหาที่พบคือมีจำนวนพนักงานเก็บขยะมูลฝอยไม่เพียงพอ ส่งผลให้เกิดความเหนื่อยล้าและล่าช้าในการทำงาน ประสิทธิภาพในการทำงานที่ลดลง ดังนั้นข้อมูลที่ได้จากการศึกษาจะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการกำหนดนโยบายและวางแผนการดำเนินการจัดการขยะมูลฝอยให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดและมีประโยชน์มากที่สุด และขยายผลสู่ชุมชนอื่นๆต่อไป The objective of this study is to analyse the waste management system of KrathumBaen area of MeaungSamutSakhon district of Thailand. This study will outline complications faced, as well as allow for an evaluation of public satisfaction towards the system. The feedback will then be used as foundation for future modification of the system in an attempt to reach optimum level of productivity, suitability and overall competency. A thorough assessment of the management system governing the waste products of KrathumBaenarea of MeaungSamutSakhon district has highlighted the prevalent complications faced. These complications stem from the increase in waste products as a result of exponential population growth. Consequently, the supply and demand equilibrium is disturbed when there is a shortage of supporting channels (such as depositories and containers). As these supporting channels vary in capacity to transport waste, this means that there is a volume of waste in each area that is left unaccounted for. Another area of complication involves a shortage of employed personnel that physically deal with the waste products. Internal obstacles within the process cannot be resolved with a restricted workforce. This complication compromises the efficiency of the system. In summation, an assessment of the system and its complications will provide guidance and navigation for concerning faculties overseeing this management scheme. This will provide framework for authoritative parties to regulate and reform policies to achieve maximum productivity, suitability and overall competency. %U http://ojs.ru.ac.th/index.php/Logistic/article/view?path= %J Journal of Logistics and Supply Chain Management Ramhkamhaeng %0 Journal Article %V 3 %N 1 %@ 2351-0722 %8 2016-10-21 %7 2016-10-18