TY - JOUR AU - Butprom, Supannee AU - Poopunsri, Vongphak PY - 2022 TI - ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของข้าราชการ (Factors affecting performance of government officials) JF - Ramkhamhaeng Journal of Public Administration; Vol 5 No 1 (2022): วารสารรามคำแหง ฉบับรัฐประศาสนศาสตร์ ( Ramkhamhaeng Journal of Public Administration) KW - N2 - บทคัดย่อ   การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา.1).ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของข้าราชการสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร.และ.2).ประสิทธิภาพการทำงานของข้าราชการสำนักการศึกษาฯ เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ.โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย จากกลุ่มตัวอย่างคือ ข้าราชการของสำนักการศึกษา กรุงเทพมหานคร จำนวน 170 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ .ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย.และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน.).สถิติค่าที.(Independent sample T-test) สถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว.(One-Way ANOVA) และสถิติการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลของข้าราชการสำนักการศึกษาฯ ทั้ง 6 ปัจจัย ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่ง/ระดับ อายุราชการ และเงินเดือนปัจจุบัน ที่แตกต่างกันมีประสิทธิภาพการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน. ส่วนปัจจัยองค์การในการปฏิบัติงานทั้ง . 7 . ด้าน ได้แก่ . ด้านกลยุทธ์ ด้านโครงสร้างองค์การ ด้านระบบการปฏิบัติงาน ด้านรูปแบบการบริหารจัดการ ด้านบุคลากรในองค์การ ด้านทักษะในการปฏิบัติงาน และด้านค่านิยมร่วมของคนในองค์การ.ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานในภาพรวมของข้าราชการสำนักการศึกษาฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.0.05  นอกจากนี้ ยังพบว่าประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการสำนักการศึกษาฯ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก.(.=.3.43,.S.D..=.0.65).ซึ่งถือเป็นผลดีต่อหน่วยงานอย่างยิ่ง.เพราะแสดงให้เห็นว่าข้าราชการสำนักการศึกษาฯ มีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และทุ่มเทในการทำงานเต็มกำลังความสามารถ ทำให้ผลการปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพสูงกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้     Abstract       The objectives of this research were to study 1) factors affecting the efficiency of work performance of government officials, Office of Education, Bangkok and 2) the performance of government officials from the Education Bureau, Bangkok. This research is a quantitative research. The questionnaire was used as a research tool from the sample group which are civil servants of the Office of Education. The statistics used in the data analysis were percentage, frequency, mean, standard deviation, Independent sample (T-test ),One-Way ANOVA and multiple regression analysis. The research found that different personal factors of government officials, namely gender, age, educational level, position/level, age of government service and current salary have no relation with the performance, in accord with the predetermined assumptions.  For the 7 organizational factors ,including strategy, organizational structure, operation system, management model, personnel, operational skills and the shared values ​​of the people in the organization affects the overall performance of the government officials in the Office of Education at statistically significant. at the .0.05 level, which is in accordance with the assumptions set. It also found that the overall performance of the government officials is at a high level  ( x =.3.43,.SD.=.0.65) which is not according to the set assumptions. It is good for the office because the government officials are outperforming the goals. UR - http://ojs.ru.ac.th/index.php/MPA/article/view?path=