การก่อตัวนโยบายด้านสังคมของพรรคประชาธิปัตย์ กรณีศึกษา การแก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคมจากแนวคิดจากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน (Democratic Party’s Social Policy Formation A case study of the solution of social disparity from the concept of “from womb to tomb)
Abstract
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีจุดระสงค์เพื่อศึกษากระบวนการในการก่อตัวนโยบายทางด้านสังคมเปรียบเทียบกับแนวคิดจากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอนของพรรคประชาธิปัตย์ และเปรียบเทียบกับนโยบายการแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำทางด้านสังคมจากนโยบายอื่นๆ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง กลุ่มตัวอย่างได้แก่ อดีต ส.ส. ที่เป็นกรรมการบริหารพรรคประชาธิปัตย์ ที่อยู่ในคณะกรรมการนโยบายพรรคฯ และ คณะทำงานรองโฆษกพรรคประชาธิปัตย์ จำนวน 5 คน ผลการศึกษาพบว่าในการก่อตัวนโยบายด้านสังคมของพรรคประชาธิปัตย์นั้นมีความครอบคลุมสำหรับประชาชนทุกช่วงวัยตามแนวคิดของอาจารย์ป๋วย “จากครรภ์มารดาถึงเชิงตะกอน” คือนโยบายที่ให้สวัสดิการมารดาที่กำลังตั้งครรภ์ นโยบายสำหรับเด็กในช่วงปฐมวัย นโยบายสำหรับนักเรียนนักศึกษา นโยบายสำหรับวัยแรงงาน และสำหรับวัยเกษียณ ซึ่งถ้าประชาการในประเทศมีความอยู่ดีกินดี กันอย่างทั่งถึง ก็จะสามารถลดความเหลื่อมล้ำ ความไม่เท่าเทียมของคนในสังคมได้
Abstract
This research is aimed at studying the process of social policy formation in compare to the concept of “from maternal womb to tomb” and also to other social policies adopted to eliminate social disparity. Data were collected by structured interview. The sample were former members of Parliament and executive member of the party and 5 members of working group of deputy party spokesman. The results of the study found that the formation of the Democrat Party's social policy cover people of all ages according to the concept of Puey’s "from maternal womb to tomb". Those policies are providing welfare for pregnant mothers and early childhood care. Moreover, policy for students, policy for working age and policy for retired persons were formulated. If the people in the country are well-being, the disparity will certainly be reduced.