ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านความเสี่ยงกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรส่วนท้องถิ่น (The relationship between risk factors and performance efficiency of local government officers)

กรณีศึกษาเทศบาลตำบลในอำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา (A case study of Subdistrict Municipality in Bang Nam Priao District, Chachoengsao Province)

  • Chinnawat Chueasraku College of Politics and Governance, Mahasarakham University
  • Sroth Boonpan Student, Master of Politics and Government, Mahasarakham University

Abstract

บทคัดย่อ


การวิจัยเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านความเสี่ยงกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร: กรณีศึกษาบุคลากรเทศบาลในอำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา รวมทั้งหมด 6 องค์กร ได้แก่ เทศบาลตำบลบางน้ำเปรี้ยว เทศบาลตำบลดอนฉิมพลี เทศบาลตำบลบางขนาก เทศบาลตำบลศาลาแดง เทศบาลตำบลดอนเกาะกา เทศบาลตำบลคลองแสนแสบ จำนวนทั้งหมด 229 คน โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย 146 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) โดยสุ่มตัวอย่างกลุ่มย่อยแต่ละกลุ่มสถานที่ทำงานตามสัดส่วน โดยมีวัตถุประสงค์คือ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านความเสี่ยง 5 มิติได้แก่ ด้านกลยุทธ์ ด้านการเงิน ด้านปฏิบัติงาน ด้านกฎหมาย/กฎระเบียบ ด้านนโยบาย กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน 4 มิติ ได้แก่ ความรวดเร็ว(เวลาการทำงาน) ปริมาณงาน คุณภาพงาน ความคุ้มค่าของทรัพยากร และศึกษาข้อแสนอแนะเกี่ยวกับปัจจัยด้านความเสี่ยงและประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรในเทศบาลอำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์การถดถอยเชิงพหุคูณของตัวแปรตามประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากร 4 ด้าน และตัวแปรต้นปัจจัยด้านความเสี่ยง 5 มิติ ผลวิจัยพบว่า ปัจจัยความเสี่ยงด้านปฏิบัติงาน และปัจจัยความเสี่ยงด้านนโยบาย มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรได้อย่างมีนัยสำคัญ ปัจจัยความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ปัจจัยความเสี่ยงด้านการเงิน และปัจจัยความเสี่ยงด้านกฎหมาย/กฎระเบียบ ไม่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการปฏิบัติงานของบุคลากร


Abstract


     


              Study of the relationship between risk factors and performance efficiency of local government officers: A case study of Bang Nam Priao District, Chachoengsao Province. The total of 6 organizations including Bang Nam Priao, Don Chim Phli, Bang Khanak, Sala Daeng, Don Ko Ka, and Khlong Saen Saep Subdistrict Municipality, have a total of 229 people. The samples used in quantitative research were 146 people. The main aim is to study the relationship between 5 dimensions of risk factors: strategic, financial, and operational legal/regulatory aspects, policy aspects, and 4 dimensions of operational efficiency: speed (work time), work quantity, work quality, and value of resources. and study recommendations regarding risk factors and operational efficiency of personnel who work in Bang Nam Priao District Municipality. Analysis of multiple regression coefficients of variables based on personnel performance in 4 areas and 5 dimensions of risk factor variables, statistical significance level at .05 level. The research results found that operational risk factors and policy risk factors significantly influence personnel performance. Strategic risk factors financial risk factors and legal/regulatory risk factors have no influence on personnel performance.





 

Published
Dec 26, 2023
How to Cite
CHUEASRAKU, Chinnawat; BOONPAN, Sroth. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านความเสี่ยงกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรส่วนท้องถิ่น (The relationship between risk factors and performance efficiency of local government officers). Ramkhamhaeng Journal of Public Administration, [S.l.], v. 6, n. 3, p. 68-94, dec. 2023. ISSN 2630-0133. Available at: <http://ojs.ru.ac.th/index.php/MPA/article/view/397>. Date accessed: 22 dec. 2024.